fbpx

หลังจากที่เริ่มมีเพื่อนๆบางท่านที่สนใจและอีเมล์มาคุยเรื่อง Money Management กับผมโดยอยากให้ทำการอัพเดทบทความเกี่ยวกับเรื่องนี้เยอะขึ้น ผมจึงขอนำบทความต่อเนื่องในเรื่องของ Risk Management ตอนที่สองและตอนต่อๆไปมาทยอยลงต่อกันนะครับ

“แนวคิดและระบบการลงทุนต่างๆที่อยู่ในหนังสือเล่มนี้ คือผลของการศึกษาวิจัยตลาดเป็นเวลานานหลายปี แนวทางการปฏิบัติต่างๆนั้นอยู่ในขอบข่ายการวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิค และผลลัทธ์ของมันก็ยอดเยี่ยมเช่นกัน ไม่มีส่วนใดในหนังสือเล่มนี้ที่อ้างอิงจากแนวคิดและผลงานของผู้เขียนอื่นๆ สิ่งที่คุณจะได้พบในหนังสือเล่มนี้นั้น คือผลงานต้นแบบชิ้นแรกในตัวของมันเอง” Welles J. Wilder Jr.

ภูมิปัญญาที่เฉียบแหลมในการเก็งกำไรนั้น ได้ถูกอธิบายอย่างง่ายๆไว้ในกระดาษที่แปะไว้บนผนังทำงานของ Paul Tudor Jones สุดยอดนักเก็งกำไรคนหนึ่งของโลกเอาไว้แล้ว นั่นก็คือ.. “คนแพ้ชอบถัวขาดทุน หรือ Losers Average Losers” นั่นเอง

George Lane นั้นบอกกับเราว่าเขารู้สึกว่าตนเองโชคดีมากๆ ที่ได้รู้จักกับตลาดและเรียนรู้เกี่ยวกับมันในช่วงเวลาที่เขาบอกว่า “ตลาดและสิ่งต่างๆยังคงเรียบง่ายอยู่” โดยในช่วงเริ่มต้นของการเก็งกำไรนั้น Lane ได้ตั้งคำถามในใจอยู่ตลอดเวลาว่า “มันต้องมีอะไรสักอย่าง อยู่ทีไหนสักแห่ง” ที่จะช่วยเขาในการวิเคราะห์และตัดสินใจในการเก็งกำไรได้ นอกจากเพียงการวิเคราะห์ทางปัจจัยพื้นฐานเท่านั้น

เมื่อ George Lane ได้ย้อนหวนกลับไปคิดถึงวันวาน ขณะที่เขาเริ่มต้นชีวิตการเก็งกำไรของเขานั้น เขาพบว่าหลักการวิเคราะห์ด้วยปัจจัยพื้นฐานในขณะนั้น ดูเหมือนจะไม่สามารถนำมาบ่งชี้ถึงทิศทางของตลาดได้อย่างน่าเชื่อถือเท่าที่ควร และนั่นจึงเป็นจุดเริ่มต้นในการศึกษาและค้นคว้าของเขาเกี่ยวกับเรื่องของ Technical Indicator ขึ้นมา

เรื่องเกี่ยวกับมุมมองเกี่ยวกับหลักแนวคิดในการเดิมพันหรือการพนันนั่นเอง ซึ่งตรงนี้ผมว่าเป็นเรื่องที่น่าสนใจว่า คนที่เขาเล่นกับความไม่แน่นอนหรือ Probability เป็นอาชีพนั้น เขามีวิธีคิดอย่างไรกับสิ่งที่ต้องเจอในชีวิตการเป็นนักเดิมพันของพวกเขาครับ

ทักทายกันอีกครั้ง สำหรับเพื่อนพี่ๆน้องๆที่เคยติดตามอ่าน แมงเม่าคลับ นะครับ ผมต้องขออภัยด้วย(ยกโทษให้ผมด้วยละกันครับ >_<) ที่จู่ๆก็หายไปเลยเป็นเดือนๆ จริงๆแล้วต้องโทษความขี้เกียจและความเลยตามเลยของผมเอง เนื่องจากในตอนนั้นตลาดเริ่ม “เหมือนจะ” เข้าสู่ช่วงแนวโน้มที่เป็นใจ ผมเลยมัวแต่ไปสาละวนกับการเทรด และมัวแต่ค้นคว้าสิ่งต่างๆเพิ่มเติม โดยอีกใจก็คิดว่าเดี๋ยวจะรีบกลับไปเขียนกลับไปตอบครับ แต่..

คนที่เข้ามาเก็งกำไรในตลาดหุ้นส่วนใหญ่นั้น เมื่อได้นำวิชาการวิเคราะห์หุ้นทางเทคนิค(Technical Analysis) มาใช้นั้นมักจะเสียเวลาส่วนใหญ่ไปกับพยายามหาวิธีการซื้อหุ้น(Buy Signal)ที่มีความแม่นยำที่มากที่สุด หรือไม่ก็ให้กำไรสูงสุด แต่เราอาจไม่เคยรู้หรือเคยได้ยินว่า เมื่อเรามองถึงการเก็งกำไรในระยะยาวแล้ว การขายหุ้นนั้น จริงๆแล้วมักมีความสำคัญกว่าการเข้าซื้อเสียอีกครับ

เทคนิคการอ่านโวลุ่มในการเล่นหุ้น Tape Reading by Linda Bradford Rashcke (2) หลังจากผมหยุดพักไปในช่วงตรุษจีน วันนี้เรามาว่ากันต่อถึงหลักการในการอ่านโวลุ่มจากบิด-ออฟเฟอร์หรือที่เรียกกันว่า Tape Reading กันต่อครับ วันนี้อ่านกันยาวๆไปเลย…

เทคนิคการอ่านโวลุ่มในการเล่นหุ้น Tape Reading By Linda Bradford Raschke (Part 1) วันนี้นำเรื่องน่าสนใจอีกเรื่องมาให้อ่านกันครับ เป็นเรื่องที่หาข้อมูลศึกษาค่อนข้างยากพอสมควรแม้จะเป็นในต่างประเทศก็ตาม ผมพยายามหาหนังสือเกี่ยวกับเรื่องนี้ แต่ที่ยังมีขายกันอยู่ก็มีเพียงไม่กี่เล่มที่เป็นหัวข้อเกี่ยวกับเรื่องนี้โดยเฉพาะเท่านั้น นั่นก็คือเรื่องของการอ่านโวลุ่มการซื้อขายจากบิด-ออฟเฟอร์ หรือที่เรียกกันว่า…